ข้อมูลโครงการ :: การปรับปรุงข้อมูลจุดเสี่ยงภัยให้เป็นปัจจุบัน

รายละเอียดโครงการ

Showing 1-1 of 1 item.
สยป.1Fileชื่อโครงการ/กิจกรรมงบประมาณฯความคืบหน้าฯหน่วยงานที่รับผิดชอบส่วนราชการ/ฝ่าย
-การปรับปรุงข้อมูลจุดเสี่ยงภัยให้เป็นปัจจุบัน0.0045.00สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองสำนักงานภูมิสารสนเทศ

KRs/KPI ที่เกี่ยวข้อง

Showing 1-1 of 1 item.
สยป.2ActionKEY_RESULTหน่วยนับค่าเป้าหมายผลการดำเนินงานความคืบหน้าของ KPI (%)
-(5109) จำนวนชุดข้อมูลความเสี่ยงที่ได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันชุดข้อมูล9.005.0055.56

** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **

Showing 1-7 of 7 items.
KEY RESULTสยป.3วันที่รายงานผลการดำเนินงาน (#1)... (#2)PhotoREPORT_NOTEเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวข้องฯ
510925-04-20250.000.001. ปรับปรุงระบบ BKK Risk Map และนำเข้าข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล (ต่อเนื่อง) 2. ความก้าวหน้าทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 54.44 3. ทำการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน จากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล หากเป็นข้อมูล API อาจจะต้องมีการพัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติม ดำเนินการได้ร้อยละ 36.67
510920-03-20250.000.001. ปรับปรุงระบบ BKK Risk Map และนำเข้าข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล (ต่อเนื่อง) - สวพ. อัพเดตข้อมูล AED ที่ได้จากสำนักอนามัย ทั้ง 998 จุด 1.5 สวพ. พัฒนา API เชื่อมโยงระบบข้อมูลถังดับเพลิงกับระบบสำรวจถังดับเพลิงของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. ความก้าวหน้าทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 45.55 ในขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การหารือ เตรียมจัดทำแผนการรวบรวม และจัดทำข้อมูลเสี่ยงภัย ในแต่ละหน่วยงานเจ้าของข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 10 2.2 สวพ. จัดทำหนังสือขอให้ทุกหน่วยงานส่งข้อมูลทุก 3 เดือน ไปยังสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล หลังจากนั้น สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยส่งข้อมูลให้ สวพ. คิดเป็นร้อยละ 7.77 2.3 สวพ. ทำการอัพเดตข้อมูล จากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ด้านอุทกภัย ด้านอัคคีภัย ด้านความปลอดภัยทางถนน ด้านเสี่ยงภัยมลพิษ (PM 2.5) ด้านภัยแล้ง ด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ด้านเหตุแผ่นดินไหวและอาคารวิบัติเชิงโครงสร้าง และด้านวาตภัย หากเป็นข้อมูล API อาจจะต้องมีการพัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติม คิดเป็นร้อยละ 27.78
510920-02-20250.000.001. ปรับปรุงระบบ BKK Risk Map และนำเข้าข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล (ต่อเนื่อง) - สวพ. อัพเดตข้อมูล AED ที่ได้จากสำนักอนามัย ทั้ง 998 จุด 2. ความก้าวหน้าทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 36.66 ในขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การหารือ เตรียมจัดทำแผนการรวบรวม และจัดทำข้อมูลเสี่ยงภัย ในแต่ละหน่วยงานเจ้าของข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 10 2.2 สวพ. จัดทำหนังสือขอให้ทุกหน่วยงานส่งข้อมูลทุก 3 เดือน ไปยังสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล หลังจากนั้น สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยส่งข้อมูลให้ สวพ. คิดเป็นร้อยละ 11.66 2.3 สวพ. ทำการอัพเดตข้อมูล จากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ด้านอุทกภัย ด้านอัคคีภัย ด้านความปลอดภัยทางถนน ด้านเสี่ยงภัยมลพิษ (PM 2.5) ด้านภัยแล้ง ด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ด้านเหตุแผ่นดินไหวและอาคารวิบัติเชิงโครงสร้าง และด้านวาตภัย หากเป็นข้อมูล API อาจจะต้องมีการพัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติม คิดเป็นร้อยละ 15
510923-01-20250.000.001. ปรับปรุงระบบ BKK Risk Map และนำเข้าข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล (ต่อเนื่องจากเดิม) - สวพ. อัพเดตข้อมูล AED ที่ได้จากสำนักอนามัย ทั้ง 998 จุด 2. ความก้าวหน้าทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 27.77 ในขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การหารือ เตรียมจัดทำแผนการรวบรวม และจัดทำข้อมูลเสี่ยงภัย ในแต่ละหน่วยงานเจ้าของข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 10 2.2 สวพ. จัดทำหนังสือขอให้ทุกหน่วยงานส่งข้อมูลทุก 3 เดือน ไปยังสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล หลังจากนั้น สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยส่งข้อมูลให้ สวพ. คิดเป็นร้อยละ 7.77 2.3 สวพ. ทำการอัพเดตข้อมูล จากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ด้านอุทกภัย ด้านอัคคีภัย ด้านความปลอดภัยทางถนน ด้านเสี่ยงภัยมลพิษ (PM 2.5) ด้านภัยแล้ง ด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ด้านเหตุแผ่นดินไหวและอาคารวิบัติเชิงโครงสร้าง และด้านวาตภัย หากเป็นข้อมูล API อาจจะต้องมีการพัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติม คิดเป็นร้อยละ 10
510923-12-20240.000.001. ปรับปรุงระบบ BKK Risk Map และนำเข้าข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ดังนี้ 1.1) สวพ. เตรียมแผนที่สำหรับการทำแผนที่ทั้ง 4 ด้าน ที่จะเพิ่มเข้ามา ได้แก่ ด้านภัยแล้ง ด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ด้านเหตุแผ่นดินไหวและอาคาร วิบัติเชิงโครงสร้างและด้านวาตภัย และการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาดส่งข้อมูลให้สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตรวจสอบข้อมูล 1.2 สวพ. เชิญหน่วยงานเข้าร่วมการประชุม ประกอบด้วย สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักสิ่งแวดล้อม และสำนักอนามัย เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน และหารือประเด็นจุดเสี่ยงภัยที่เพิ่มเข้ามา ได้แก่ จุดเสี่ยงด้านภัยแล้ง จุดเสี่ยงด้านเหตุแผ่นดินไหวและอาคารวิบัติเชิงโครงสร้าง จุดเสี่ยงด้านวาตภัย จุดเสี่ยงภัยโรคติดต่อ/โรคระบาด ในประเด็นปัจจัยเสี่ยง เช่น จุดเสี่ยงด้านวาตภัย จุดเสี่ยงต้นไม้ใหญ่ที่อาจหักโค่นล้มได้ จุดเสี่ยงภัยโรคติดต่อ/โรคระบาด เป็นจุดเสี่ยงโรคไข้เลือดออกตามสถิติ 1.3 สวพ. ส่งรายงานการประชุมให้ทุกหน่วยงานเริ่มส่งข้อมูลครั้งแรก ตามที่ประชุมมอบหมาย 1.4 สวพ. อัพเดตข้อมูล AED ที่ได้จากสำนักอนามัย ทั้ง 998 จุด 1.5 สวพ. พัฒนา API เชื่อมโยงระบบข้อมูลถังดับเพลิงกับระบบสำรวจถังดับเพลิงของสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. ความก้าวหน้าทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 18.88 ในขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การหารือ เตรียมจัดทำแผนการรวบรวม และจัดทำข้อมูลเสี่ยงภัย ในแต่ละหน่วยงานเจ้าของข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 10 2.2 สวพ. จัดทำหนังสือขอให้ทุกหน่วยงานส่งข้อมูลทุก 3 เดือน ไปยังสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล หลังจากนั้น สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยส่งข้อมูลให้ สวพ. คิดเป็นร้อยละ 3.88 2.3 สวพ. ทำการอัพเดตข้อมูล จากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ด้านอุทกภัย ด้านอัคคีภัย ด้านความปลอดภัยทางถนน ด้านเสี่ยงภัยมลพิษ (PM 2.5) ด้านภัยแล้ง ด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ด้านเหตุแผ่นดินไหวและอาคารวิบัติเชิงโครงสร้าง และด้านวาตภัย หากเป็นข้อมูล API อาจจะต้องมีการพัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติม คิดเป็นร้อยละ 5
510921-11-20240.000.00 1.1) สวพ. เตรียมแผนที่สำหรับการทำแผนที่ทั้ง 4 ด้าน ที่จะเพิ่มเข้ามา ได้แก่ ด้านภัยแล้ง ด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ด้านเหตุแผ่นดินไหวและอาคารวิบัติเชิงโครงสร้าง และด้านวาตภัย และการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรค ระบาดส่งข้อมูลให้ทางสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตรวจสอบข้อมูล 1.2) สวพ. เชิญหน่วยงานเข้าร่วมการประชุม ประกอบด้วย สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักการโยธา สำนักการระบายน้ำ สำนักการจราจรและขนส่ง สำนักสิ่งแวดล้อม และสำนักอนามัย เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน และหารือประเด้นจุดเสี่ยงภัยที่เพิ่มเข้ามา ได้แก่ จุดเสี่ยงด้านภัยแล้ง จุดเสี่ยงด้านเหตุแผ่นดินไหว และอาคารวิบัติเชิงโครงสร้าง จุดเสี่ยงด้านวาตภัย จุดเสี่ยงภัยโรคติดต่อ/โรคระบาด ในประเด็นปัจจัยเสี่ยง เช่น จุดเสี่ยงด้านวาตภัย จุดเสี่ยงต้นไม้ใหญ่ที่อาจหักโค่นล้มได้ จุดเสี่ยงภัยโรคติดต่อ/โรคระบาด เป็นจุดเสี่ยงโรคไข้เลือกออกตามสถิติ
510907-11-20245.000.00ปรับปรุงระบบ BKK Risk Map และนำเข้าข้อมูลเพิ่มเติมจากหน่วยงานเจ้าของข้อมูล ดังนี้ - สวพ. เตรียมแผนที่สำหรับการทำแผนที่ทั้ง 4 ด้าน ที่จะเพิ่มเข้ามา ได้แก่ ด้านภัยแล้ง ด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ด้านเหตุแผ่นดินไหวและอาคารวิบัติเชิงโครงสร้าง และด้านวาตภัย และการหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาดส่งข้อมูลให้ทางสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตรวจสอบข้อมูล

ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม

Showing 1-4 of 4 items.
สยป.3ลำดับขั้นตอน/รายละเอียดงานร้อยละของงานเริ่มต้นวันที่สิ้นสุดวันที่
1การหารือ เตรียมจัดทำแผนการรวบรวม และจัดทำข้อมูลเสี่ยงภัย ในแต่ละหน่วยงานเจ้าของข้อมูล10.0001-10-202430-11-2024
2สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองจัดทำหนังสือขอข้อมูลทุกหน่วยงานให้ส่งข้อมูลทุก 3 เดือน ไปยังสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อตรวจความถูกต้องและความสมบูรณ์ของข้อมูล และหลังจากนั้น สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่งข้อมูลให้สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง 35.0001-12-202431-08-2025
3สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองทำการอัปเดตข้อมูลจากหน่วยงานเจ้าภาพของข้อมูลด้านอุทกภัย ด้านอัคคีภัย ด้านความปลอดภัยทางถนน ด้านเสี่ยงภัยมลพิษ (PM 2.5) ด้านภัยแล้ง ด้านควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด ด้านเหตุแผ่นดินไหวและอาคารวิบัติเชิงโครงสร้าง และด้านวาตภัย หากเป็นข้อมูลที่เป้น API อาจจะต้องมีพัฒนาการเชื่อมโยงข้อมูลเพิ่มเติม45.0001-12-202431-08-2025
4สรุปผลการดำเนินงาน10.0001-09-202530-09-2025

** รายละเอียดเกี่ยวกับการรายงานฯ **

Showing 1-4 of 4 items.
ลำดับวันที่รายงานผลการดำเนินงาน
126-11-2024 13:30:1010.00
223-02-2025 20:49:2335.00
300.00
400.00